วันพุธที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556
ด้วงอิฐ และฟอสฟีส
ด้วงอิฐ "Khapra beetle"
มีชื่อวิทยาศาสตร์คือ Trogoderma graniarum Everts
การค้นพบ ด้วงอิฐมีถิ่นกำเนิดในอินเดีย แต่ค้นพบในทวีปอเมริกาเหนือ ในผลิตผลทางการเกษตร เช่น ข้าว มอลต์ ถั่วลิสง วอลนัท อัลมอนด์ ลูกเกด โรงงานแปรรูป ร้านค้าขายผลิตผลทางการเกษตร หรือแม้แต่ตู้กับข้าว
ปรเเทศที่ค้นพบ ค้นพบเนื่องจากเป็นแมลงที่มีอยู่ในถิ่นฐานเดิมอยู่แล้ว และจากการกักกันสินค้านำเข้า เช่น อัฟกานิสถาน Afghanistan , แอลจีเรีย บังคลาเทศ อินเดีย อิหร่าน อิรัก อิสราเอล ลิเบีย พม่า ปากีสถาน ซาอุดิอาราเบีย ศรีลังกา ซูดาน ตุรกี และ United Arab Emirates โดยแพร่กระจายไปทั่วโลก จากรายชื่อก็จะมีแถบทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ตะวันออกกลาง เอเชีย และแอฟริกา ทวีปอเมริกาเหนือ
แหล่งอาศัย ผลิตผลทางการเกษตร ทนในที่แห้งและร้อนได้นาน ดำรงชีวิตอยู่ได้โดยไม่กินอาหารเป็นเวลานาน หากเป็นเม็ดข้าวสาร ด้วงจะฝังอยู่ในเม็ดขาว สังเกตเป็นสีฝ้าขาวๆมีอะไรข้างในดำๆ ใช้นิ้วบีบดูเมล็ดข้าวสารเป็นผงแป้ง
การกำจัด ฟอสฟีน หรืออลูมิเนียมฟอสไฟต์ เป็นก๊าซไม่มีสี มีกลิ่นเล็กน้อย คล้ายกระเทียม เป็นพิษต่อแมลงและสัตว์เลือดอุ่น หากมนุษย์ได้รับเข้าไป เกิดอาการคลื่นไส้ อาเจียน ท้องร่วง ปวดศรีษะ เจ็บหน้าอก ลิ้นแข็ง พูดไม่ชัด ในปริมาณมากอาจทำให้เสียชีวิตได้
การเก็บข้าวสาร ป้องกันด้วงอิฐ
-ใช้ใบมะกรูดวางไว้ก้นถังข้าว
-ข้าวสารที่ต้องเก็บไว้กินนานๆ บรรจุใส่ขวดพลาสติกไว้ ปิดฝาให้แน่นไม่ให้อากาศเข้า ด้วงจะไม่ฝักเป็นตัว
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น